บอ กลูกอย่างไร เมื่อพ่อ-แม่ต้องหย่าร้าง

การสื่อส า รกับลูกในปัญหาหย่าร้างของพ่อแม่จึงเป็นเรื่องที่จำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อบรรเทาความเครียด วิตกกังวล ภาวะทางอารมณ์ที่ตามมา

และแม้ว่าการพูดคุยในเรื่องนี้จะไม่ใช่เรื่องง่ายก็ตาม แต่พ่อและแม่ควรต้องตระหนักและสื่อส า รกับลูกโดยหาช่วงเวลาที่เห ม าะสมเพื่อพูดคุย

สิ่งที่สำคัญที่สุดที่พ่อ-แม่ควรทำคือ

1. บอ กความจริงกับลูก

ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะบอ กเรื่องร้ า ยที่จะเกิดขึ้นในชีวิตของลูกให้ลูกได้รับรู้ อย่างไรก็ตามมันเป็นสิ่งที่จำเป็นที่พ่อ-แม่ควรหาช่วงเวลา และการสนทนา

ที่เห ม าะกับวัยและวุฒิภาวะของลูก ทั้งพ่อ และแม่ ควรฝึกที่จะระงับอารมณ์โกรธ เ ก ลี ย ด และไม่ว่าร้ า ยใส่กันในขณะที่อยู่ต่อหน้าลูก ให้คิดอยู่เสมอว่า

เราต้องช่วยลูกให้ผ่านพ้นช่วงเวลาที่ยากลำบากสำหรับเขาไปให้ได้ ควรอธิบายให้ลูกเข้าใจถึงการใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปจากเดิม เมื่อพ่อ-แม่มีทัศนคติในเรื่องความรักที่เปลี่ยนไป

มีความเห็นไม่เหมือนกันอีกต่อไป จึงไม่สามารถที่จะอยู่ด้วยกันอย่างเดิมได้ ต้องให้ความชัดเจนในเรื่องการตัดสินใจหย่าร้าง และ แผนการในการรับผิดชอบลูก

และต้องเน้นย้ำว่า พ่อ กับแม่ยังรักลูกเหมือนเดิม ความรักที่พ่อ กับแม่มีให้ลูกเป็นความรักที่ไม่มีวันเปลี่ยนแปลง และ สาเหตุที่พ่อ กับแม่ไม่ได้อยู่ด้วยกันไม่ใช่สาเหตุที่มาจากลูก

อย่างไรก็ตามเด็กมักจะมีความคิดโทษตัวเองถึงแม้ว่าพ่อ กับแม่จะบอ กว่าสาเหตุการหย่าร้างไม่เกี่ยวกับเขาก็ตามดังนั้นพ่อและแม่ควรให้ความมั่นใจในเรื่องนี้อย่างสม่ำเสมอว่าการหย่าร้างไม่ได้มีสาเหตุมาจากเขาและ

ตอบคำถามลูกอย่างชัดเจนถึงสาเหตุการหย่าร้างและต้องให้ข้อมูลอย่างเพียงพอเพื่อที่เขาจะได้เตรียมใจกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตหลังจากนี้ แต่อาจไม่จำเป็นต้องบอ กความจริงทั้งหมดหากมันส่งผลร้ า ยกระทบจิ ตใจลูกมากกว่าผลดี

2.เตรียมรับมือ กับปฎิกิริยาด้านลบของลูก

หลักจากบอ กให้ลูกรับรู้แล้ว ลูกอาจมีปฎิกิริยา เศร้าเสียใจ ผิดหวังกับสิ่งที่เกิดขึ้นในอย่างเห็นได้ชัด แต่ในเด็กบางคนภาวะด้านอารมณ์เหล่านี้อาจจะยังไม่เกิดขึ้นในทันทีแต่จะเกิดในภายหลัง

นั่นเป็นภาวะที่เด็กพยายามจะปฎิเสธการรับรู้ถึงสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้น และยังคงคิดหาวิธีที่จะทำให้ทั้งพ่อและแม่กลับมาเป็นเหมือนเดิม แม้มันจะไม่สามารถกลับมาเป็นแบบเดิมได้ก็ตาม

ดังนั้นพ่อ-แม่ต้องชัดเจนกับการจบความสัมพันธ์ภาพระหว่างคู่สมรส และควรจบกันด้วยดี มีการสื่อส า รให้ลูกเข้าใจ ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญมากและอาจมีผลกระทบด้านจิ ตใจกับลูก

ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวต่อลูกในอนาคต และแบบอย่าง หรือทัศนคติด้านความรักเมื่อวันหนึ่งลูกไปมีชีวิตคู่ของตนเอง

ควรสังเกตุอาการหลังจากนี้ เด็กอาจมีความเครียดเกิดขึ้น เมื่ออยู่ที่โรงเรียน อยู่กับเพื่อน หรืออาจมีความเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติด้าน การกิน และการนอน

อย่างไรก็ตามทั้งพ่อและแม่ควรให้ความมั่นใจ และ พูดคุยกับลูกถึงแผนการการเลี้ยงดู และความรับผิดชอบต่อลูกของพ่อ กับแม่ และต้องเตรียมคำตอบสำหรับคำถามที่อาจเกิดขึ้น

เช่น หนูจะอยู่กับใคร หนูต้องย้ายโรงเรียนไหม พ่อ กับ แม่ จะไปอยู่ที่ไหน ช่วงปิดเทอมหนูต้องอยู่กับพ่อหรือแม่ ตอบลูกให้ชัดเจน เพื่อลูกจะได้รับมือและเตรียมใจสำหรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น

3.อยู่เคียงข้างลูกและคอยเป็นกำลังใจให้ลูก

พ่อ-แม่หย่าร้างเป็นความสูญเสียที่ยิ่งใหญ่ในชีวิตของลูก เหมือนความหวังในอนาคตครอบครัวที่ลูกมีได้พังทลายลง เด็กจะครำครวญเสียใจ

และหวังเสมอที่จะให้พ่อ-แม่กลับมาอยู่ด้วยกันตามเดิม ดังนั้นพ่อและแม่ต้องทำความเข้าใจว่ามันเป็นการสูญเสียอย่างร้ า ยแรงในชีวิตเขา และควรช่วยให้ลูกสามารถที่จะปรับตัวกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นให้ได้

พ่อและแม่ควรดูแล และ ให้กำลังใจ ใส่ใจในความรู้สึกของลูกอย่างจริงจัง เพื่อให้ลูกรู้สึกถึงความห่วงใยจากพ่อ-แม่ รับฟังเมื่อลูกต้องการระบาย บางครั้งความสับสนด้านอารมณ์ของลูก

ทำให้ยากที่จะสื่อส า รออ กมาเป็นคำพูด แต่พ่อ-แม่ควรหาวิธีให้ลูกได้เล่าหรือพูดในสิ่งที่เขาคิดอยู่ในใจ และควรเป็นผู้ฟังที่ดี ให้การสนับสนุนลูกในเรื่องต่างๆ ให้กำลังใจในการปรับตัวเรียนรู้กับสถานการณ์ใหม่ๆ และ การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น

นอ กจากนี้ทั้งพ่อและแม่ต้องหมั่นดูแลสุขภาพร่างกายและจิ ตใจของตัวเองให้สมบรูณ์แข็งแรง ความเครียด ความกดดันภาวะด้านอารมณ์

และจิ ตใจที่แปรปรวนต่างๆ อาจเกิดขึ้นหลังการหย่าร้าง ดังนั้นการดูแลตัวเองใส่ใจสุขภาพให้แข็งแรงเพื่ออยู่เป็นกำลังใจให้ลูกเป็นสิ่งที่สำคัญมาก และ ควรระวังเรื่องคำพูด หรือ การแสดงอารมณ์โกรธอีกฝ่ายต่อหน้าลูก

หากมีเอ กส า ร จดห ม าย ข้อความทางกฎห ม ายหย่าร้าง ควรเก็บไว้ให้ดี ไม่ควรให้ลูกเห็น หากความรู้สึกเจ็บปวดของตนไม่สามารถบรรเทาได้ด้วยตัวเอง

หรือยิ่งแย่ลงเมื่อเวลาผ่านไปควรไปปรึกษานักจิ ตวิทยาผู้เชี่ยวชาญด้านครอบครัว ไม่ควรร้องขอความช่วยเหลือหรือความเห็นใจจากลูก

แม้ลูกจะพยายามเสนอความช่วยเหลือ ก็ตาม และไม่ควรพูดให้ลูกเข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเพราะจะทำให้เด็กลำบากใจในการที่ต้องเลือ กระหว่างพ่อ กับแม่ซึ่งเป็นบุคคลที่ลูกรักทั้งคู่ และไม่ควรใช้ลูกเป็นตัวกลางในการสื่อส า ร

4.รักษาตารางกิจวัตรประจำวันของลูกให้เป็นปกติ

ควรรักษาตารางกิจวัตรประจำวันของลูกให้เป็นปกติและสม่ำเสมอ จะช่วยให้ทุกคนในครอบครัวผ่านช่วงเวลาการเปลี่ยนแปลงที่ยากลำบากนี้ไปได้

และยังทำให้เราสามารถวางแผน รู้กิจกรรมล่วงหน้า หรือสามารถตัดสิ่งที่จะมารบกวนใจใช้ชีวิตที่ไม่จำเป็นออ กไปได้

ถึงแม้ว่าพ่อ-แม่จะแยกทางกัน แต่ลูกก็ยังคงต้องได้รับการดูแลเป็นอย่างดีและต้องไม่รู้สึกขาดความอบอุ่นเมื่อต้องอยู่ลำพังกับพ่อ หรือแม่ นอ กจากนี้ควรหมั่นสังเกตุการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นให้มากเป็นพิเศษ

เช่น ลูกอาจมีภาวะ หงุดหงิดง่าย ซึมเศร้า กังวล ดูดนิ้ว ฉี่รดที่นอน ปัญหาที่โรงเรียน ปัญหาการปรับตัวเข้ากับเพื่อน ปัญหาการกินการนอนที่ไม่ปกติ

หากเป็นเด็กโต หรือวัยรุ่น อาจเสี่ยงต่อผลกระทบรุนแรงด้านจิ ตใจและอาจนำไปสู่ การใช้ส า รเ ส พติด ของมึนเมา หรือพฤติกรรมก้าวร้าว ขาดเรียน หากปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้น ย่อมส่งผลเสียด้านสุขภาพร่างกายตามมา

5.อย่าทະ เลาະกันต่อหน้าลูก

การกระทบกระทั่ง หรือ ถกเถียงกันอาจเกิดขึ้นได้ง่ายโดยเฉพาะในช่วงที่สัมพันธภาพอ่อนไหว พ่อ กับแม่อาจเผชิญกับความขัดแย้งที่มักเกิดขึ้นอยู่บ่อยๆ การแสดงออ กถึงความไม่พอใจ

อย่างรุนแรงเช่น ใช้กำลัง กรีดร้องด่าทอของพ่อ-แม่ยิ่งส่งผลเสียด้านจิ ตใจสำหรับลูกเป็นอย่างมาก นอ กจากนี้ยังมีผลต่อทัศนคติด้านความรักในระยะยาวเมื่อลูกต้องใช้ชีวิตของตัวเองในอนาคต

เด็กจะมีปัญหาด้านภาวะทางอารมณ์ และ มีอคติเป็นลบต่อความสัมพันธ์กับผู้อื่น หรือความคิดด้านลบกับการใช้ชีวิตคู่ เนื่องจากรู้สึกถึงความไม่มั่นคงในสัมพันธภาพ

ดังนั้นหากไม่สามารถที่จะคุยกันได้ หรือจบความสัมพันธ์กันได้ด้วยดีระหว่างพ่อ-แม่ ควรหาคนกลางเพื่อไกล่เกลี่ย หรือควรปรึกษานักจิ ตวิทยาผู้เชี่ยวชาญด้านความสัมพันธ์ครอบครัว และไม่ควรทิ้งบาดแผลในใจให้กับลูก

6.ช่วยลูกในการปรับตัวกับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป

ทั้งพ่อและแม่ควรช่วยกันวางแผนการเลี้ยงดูลูกด้วยกัน อย่าลืมว่าการหย่าร้างหรือแยกทางกันกับคู่ชีวิตนั้น ไม่สามารถที่จะยุติการทำหน้าที่ของพ่อและแม่ได้

ภาระกิจความรับผิดชอบที่มีต่อลูกนั้นก็ยังต้องเป็นไปเหมือนเคย แต่อาจเปลี่ยนแปลงรูปแบบ ดังนั้น ควรวางแผนให้ชัดเจนว่า ลูกจะอยู่ในการดูแลของใคร ทางนิตินัย และ พฤตินัย ใครมีส่วนในความรับผิดชอบเรื่องโรงเรียน

เรื่องการรักษาทางการแพทย์ของลูก ใครเป็นคน มาเยี่ยม หรือเด็กจะไปเยี่ยมพ่อหรือแม่ได้อย่างไร ที่ไหน สัปดาห์ละกี่วัน ช่วงปิดเทอม ลูกจะไปอยู่กับใคร ตกลงกันให้ชัดเจน เพื่อปัองกันปัญหาการขัดแย้ง

และไม่ควรถามการตัดสินใจจากลูก พ่อ กับแม่ควรตกลงกันให้เรียบร้อย เด็กควรได้รับประโยชน์จากการดูแลจากทั้งพ่อและแม่ เด็กโตอาจมีกิจกรรมจากทางโรงเรียน มากกว่าจะใช้เวลาอยู่กับผู้ปกครอง

ดังนั้นพ่อและแม่ ควรเข้าใจตารางกิจกรรมและไม่ควรคิดน้อยใจหากลูกไม่สะดวกจะไปอยู่ด้วยเพราะกิจกรรมทางโรงเรียน

อย่างไรก็ตามการตกลงในเรื่องตารางความรับผิดชอบต่อลูกนั้นจะเกิดขึ้นได้ ในกรณีที่คู่สมรส มีการจบความสัมพันธ์กันด้วยดีและเข้าใจกัน หากเป็นการจบมีความขัดแย้งควรหาคนกลางในการเข้าช่วยหรือปรึกษานักจิ ตวิทยา

7.ปรับตัวกับการเลี้ยงดูลูกภายใต้ภาวะกดดัน

ความรับผิดชอบต่อลูกหลังการหย่าร้างย่อมเกิดความกดดัน เนื่องจากตารางการใช้ชีวิต กิจวัตรประจำวันที่เปลี่ยนไป อย่างไรก็ตามพ่อหรือแม่ควรทำกิจกรรมให้เป็นปกติ

และทำหน้าที่อบรบสั่งสอนลูกด้วยความรักอย่างปกติธรรมดา ไม่ควรทำให้ลูกเสียนิสัยด้วยการซื้อของแพงๆ เพื่อชดเชยความรักที่สูญเสียไป

เพราะถึงแม้พ่อ กับแม่จะแยกทางกันแต่ก็ยังมีความรับผิดชอบต่อลูกร่วมกันและอบรมสั่งสอนลูกให้ดำเนินชีวิตที่ถูกต้องเห ม าะสมได้อย่างเดิม

พ่อและแม่ควรปรับตัวกับการหย่าร้างให้เร็วที่สุดเพื่อเป็นผลดีกับลูก หากรู้สึกว่าการสูญเสียครั้งนี้ รบกวนจิ ตใจและส่งผลลบด้านอารมณ์ในการดูแลลูก ควรหาวิธีบำบัด

หรือปรึกษานักจิ ตวิทยาเพื่อพูดคุย และรับคำแนะนำในการเรียนรู้วิธีการจัดการกับความเครียด หรือปัญหาอื่นๆที่ทำให้ไม่สบายใจ กังวล เครียด เป็นอุปสรรคต่อ การดำเนินชีวิต

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *