ในวันแต่งงาน หลายคู่อาจมีวาจาอมตะเป็นคำมั่นให้แก่กันและกัน ไม่วาจะเป็นคำสัญญาที่ว่า จะดูแลกันตลอดไป ไม่ทอดทิ้ง จะไม่ทำให้อีกฝ่ายเสียใจ
จะรักและซื่อสัตย์ตลอดไป ฯลฯ ส า รพัดคำสัญญาที่หวานจนไม่ต้องเติมน้ำตาลในอาหาร แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า
เมื่อเวลาผ่านไป ความหวานที่เคยมีเต็มเปี่ยมเมื่อวันแต่งงานนั้นอาจจืดจางลงด้วยพฤติกรรมแย่ ๆ ที่คู่สมรสกระทำต่อกัน และอาจเปิดช่องว่างให้ทำให้ “ความเ บื่ อ” เข้ามาในความสัมพันธ์ได้
1. พูดจาไม่ดีต่อกัน
การพูด เป็นการสื่อส า รที่มนุษย์เราใช้อยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน และเราก็ทราบดีว่าคำพูดดี ๆ มีความห ม ายมากมายกับผู้ที่ได้ฟัง โดยเฉพาะกับคนที่เป็นคู่รัก
ดังนั้น หากสามีภรรยาพูดจาไม่ดีต่อกัน เช่น ใช้คำหย าบคาย ประ ชดเสียดสี ใช้ภาษาพ่อขุนกันบ่อย ๆ
หรือต่อว่ากันด้วยถ้อยคำรุนแรง ก็สามารถทำให้อีกฝ่ายรู้สึกไม่ดีกับการใช้ชีวิตร่วมกันได้
2. การพูดกันน้อยลง
พูดดีเป็นศรีแก่ปาก แต่ถ้าพูดกันน้อยลงอาจเป็นสัญญาณที่บ่งบอกว่าชีวิตคู่ของคุณเริ่มเป็นเรื่องน่าเ บื่ อหน่ายได้
โดยเฉพาะ การปิดปากเงียบ ปล่อยเวลาในการอยู่ด้วยกันไปกับหน้าจอทีวี ดูรายการนั้นรายการนี้ไปเงียบ ๆ ตัวใครตัวมัน
3. ต่างคนต่างไป
หากคุณได้รับเชิญไปงานสังสรรค์ หรือกิจกรรมที่น่าสนใจ แต่คุณและคู่สมรสต่างแยกย้ายกันไป แถมไปกันคนละเวลา
แยกกันปรากฏตัวในงานสังสรรค์นั้น นั่นก็เป็นสัญญาณอัน ตรายที่บอกได้ว่าคุณกำลังเริ่มเ บื่ อกันและกัน แถมยังทำให้แขกคนอื่น ๆ ในงานแ อ บเมาท์ลับหลังคุณได้อีกด้วย
4. ให้ความสำคัญกับงาน มากกว่า
มันน่าเ บื่ อน้อยเสียเมื่อไร กับการที่ต้องเป็นฝ่ายอดทนรอให้อีกฝ่ายทำงานให้เสร็จก่อน
ยิ่งถ้าพฤติกรรมนี้เกิดขึ้นบ่อย ๆ ย่อมกระทบต่อความสัมพันธ์ เพราะอาจทำให้อีกฝ่ายเข้าใจได้ว่า ตนเองนั้นสำคัญน้อยกว่างานของเขาได้